ประวัติ
อาหารจีน
หมายถึง อาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของชาวจีน ซึ่งรวมทั้งจีนแผ่นดินใหญ่
ไต้หวันและ ฮ่องกง ซึ่งมีหลากหลายชนิดตามแต่ละท้องถิ่น
โดยทั่วไปนิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก
นอกจากในราชสำนักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อ อาหารที่รู้จักกัน เช่น ก๋วยเตี๋ยว
ติ่มซำ หูฉลาม กะเพาะปลา วัฒนธรรมการกินเป็นการกินร่วมกันโดยอุปกรณ์การกินหลัก
คือตะเกียบ
อาหารจีนจะมีอุปกรณ์การทำหลักๆเพียงสี่อย่างคือ
มีด เขียง กะทะก้นกลม และตะหลิว สมัยชุนชิว-จั้นกั๋ว
ได้เริ่มมีการแบ่งอาหารจีนเป็น 2 ตระกูลใหญ่ คือ
อาหารเมืองเหนือ และอาหารเมืองใต้ กระทั่งต้นราชวงศ์ชิง ได้มีการแบ่งอาหารเป็น 4
ตระกูลใหญ่ ได้แก่
อาหารซันตง (鲁菜-หลู่ไช่)
อาหารเจียงซู (苏菜-ซูไช่)
อาหารกวางตุ้ง (粤菜-เย่ว์ไช่)
อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
และปัจจุบันมี 8 ตระกูลใหญ่ โดยเพิ่ม
อาหารเจียงซู (苏菜-ซูไช่)
อาหารกวางตุ้ง (粤菜-เย่ว์ไช่)
อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
และปัจจุบันมี 8 ตระกูลใหญ่ โดยเพิ่ม
อาหารอันฮุย (徽菜-ฮุยไช่)
อาหารฮกเกี้ยน (闽菜-หมิ่นไช่)
อาหารหูหนัน (湘菜-เซียงไช่)
อาหารเจ้อเจียง (浙菜-เจ้อไช่)
และบางแหล่งก็แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆตามมณฑลต่างๆ ได้อีกเช่น [3]
อาหารฮกเกี้ยน (闽菜-หมิ่นไช่)
อาหารหูหนัน (湘菜-เซียงไช่)
อาหารเจ้อเจียง (浙菜-เจ้อไช่)
และบางแหล่งก็แบ่งเป็นกลุ่มย่อยๆตามมณฑลต่างๆ ได้อีกเช่น [3]
อาหารเสฉวน เป็นอาหารรสจัดรวมทั้งรสเผ็ดร้อน
ใช้เต้าซี่เป็นเครื่องปรุงมีเครื่องเทศมาก
อาหารกวางตุ้ง มักใช้น้ำมันหอยและผักมาก ปรุงเน้นการปรุงอาหารได้ดูสด รสชาตินุ่มนวล และมีอาหารประเภทติ่มซำที่เป็นรู้จักกันดี
อาหารฮกเกี้ยน มักใช้ข้าวหมักสีแดงสด โดยที่นำมาหมักเต้าหู้ยี้สีแดงมีน้ำซุปใสที่เก่าที่สุด
อาหารไหหลำ อาหารส่วนใหญ่มีเต้าเจี้ยวถั่วเหลืองและถั่วดำ เป็นเอกลักษณ์พิเศษ และใช้น้ำส้มปรุงรสได้
อาหารปักกิ่ง เน้นการทอดที่กรอบและนิ่มนวล แต่อาหารไขมันค่อนข้างสูง ทั้งนี้เพราะภูมิอากาศที่หนาวเย็น
อาหารซัวเถา เน้นในการตุ๋นและเคี่ยวเปื่อย รสชาติของอาหารที่เปื่อยนุ่มจนแทบละลายเมื่อถูกลิ้น
อาหารกวางตุ้ง มักใช้น้ำมันหอยและผักมาก ปรุงเน้นการปรุงอาหารได้ดูสด รสชาตินุ่มนวล และมีอาหารประเภทติ่มซำที่เป็นรู้จักกันดี
อาหารฮกเกี้ยน มักใช้ข้าวหมักสีแดงสด โดยที่นำมาหมักเต้าหู้ยี้สีแดงมีน้ำซุปใสที่เก่าที่สุด
อาหารไหหลำ อาหารส่วนใหญ่มีเต้าเจี้ยวถั่วเหลืองและถั่วดำ เป็นเอกลักษณ์พิเศษ และใช้น้ำส้มปรุงรสได้
อาหารปักกิ่ง เน้นการทอดที่กรอบและนิ่มนวล แต่อาหารไขมันค่อนข้างสูง ทั้งนี้เพราะภูมิอากาศที่หนาวเย็น
อาหารซัวเถา เน้นในการตุ๋นและเคี่ยวเปื่อย รสชาติของอาหารที่เปื่อยนุ่มจนแทบละลายเมื่อถูกลิ้น
การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของจีนมีมาตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์พร้อมกับการใช้ยาเพื่อรักษาโรคจากนั้นได้พัฒนาขึ้นตามลำดับในสมัยราชวงศ์ชางและโจว
จนเจริญรุ่งเรืองยิ่งในสมัยราชวงศ์ถังซึ่งมีการรวบรวมตำราซึ่งเกี่ยวข้องตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว
ฉิน ฮั่น และจิ้นไว้ ครั้นถึงสมัยซ่ง หยวน หมิง และชิง
ก็ยังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีทฤษฎีว่าด้วยอาหารเพื่อสุขภาพอย่างเป็นระบบ
ต่อมาสมัยสาธารณรัฐจีน
ต่อมาสมัยสาธารณรัฐจีน
อาหารเพื่อสุขภาพก็พัฒนาไปพร้อนกับการรักษาโรคแบบแพทย์จีนแผนโบราณและยังมีตำราที่เกี่ยวข้องออกมาเป็นจำนวนมาก
เช่น เจียถิงฉืออู้เหลียวฝ่า(การใช้อาหารเพื่อบำบัดโรคในครอบครัว) จี๋ปิ้งหยิ่นจื่อหนาน(คู่มือการใช้อาหารเพื่อบำบัดโรค)โจงกว๋อฉือเหลียวต้าเฉวียน(ประมวลความรู้ว่าด้วยการใช้อาหารเพื่อบำบัดโรคของจีน
ในปัจจุบันมีอาหารเพื่อสุขภาพหลายชนิดวางจำหน่ายในท้องตลาด และมีภัตตาคารเป็นจำนวนมากที่ใช้อาหารเครื่องยาจีน
เป็นตัวโฆษณาเพื่อดึงดูดลูกค้าแสดงให้เห็นว่าอาหารบำรุงสุขภาพของจีนนั้นได้รับความนิยมจากผู้คนโดยทั่วไป
ในปัจจุบันมีอาหารเพื่อสุขภาพหลายชนิดวางจำหน่ายในท้องตลาด และมีภัตตาคารเป็นจำนวนมากที่ใช้อาหารเครื่องยาจีน
เป็นตัวโฆษณาเพื่อดึงดูดลูกค้าแสดงให้เห็นว่าอาหารบำรุงสุขภาพของจีนนั้นได้รับความนิยมจากผู้คนโดยทั่วไป